Languages
หน้า: 1 2 [3]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ขอความช่วยเหลือด้วย เกียร์ค้างตอนขึ้นเขา..  (อ่าน 19546 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 3 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
PALUM
Newbie
*

like: 3
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 46


« ตอบ #30 เมื่อ: มกราคม 06, 2014, 07:30:56 pm »

มาแชร์ด้วยครับ มันอันตรายมาก ผมก็เจอครับ
เหตุการณืที่ 1
ผมใช้เกียร์ D ขึ้นผาตั้ง ที่ภูชี้ฟ้า มีช่วงนึงที่ชั้นมาก ก็เลยเร่งส่งขึ้นไป ตอนนั้นน่าจะเป็นเกียร์ 2 แล้วรถก็เริ่มช้าลงจนเกือบหยุด รอบเครื่องสูงมาก ตอนนั้นเริ่มตกใจแล้ว คิดอยู่ในใจว่าทำไมเกียร์ไม่เปลี่ยนลงซะที และอยู่ดีมันก็เปลื่ยนลงเป็น 1 (เสียงดังปั้ง แรงมากๆ)ผมนึกว่าเกียร์พังแล้ว แล้วมันก็ขึ้นไปจนได้ โล่งใจรอดไปได้ หลังจากนั้นผมก็ขับกลับบ้านอย่างระมัดระวัง แบบกังวล ๆ จนถึงบ้านก็ไม่มีอะไร
เหตุการณืที่ 2
ผมขับรถขึ้นอาคารที่จอดรถ ช่วง วนขึ้นไป ก็เป็นเกียร์ 2 สังเกตุดูตอนมันเปลี่ยนเป็นเกียร์ 1 มันกระตุกมาก แต่ไม่มีเสียงดังอะไร และมันก็กระตุกบ่อยมากครับ ไม่รู้ว่าใครเป็นแบบนี้บ้างตรับ
สรุปแล้วผมว่ามันแปลกๆนะ ขับรถเกียร์ออร์โต มาตั้งหลายคันเวลาเปลี่ยนเกียร์มันไม่เป็นแบบนี้อ่ะครับ รบกวนป๋าๆ ช่วยวิเคราะห์ หรือออกความเห็นด้วยครับ
 โอ๊ยมึน
เสียงดังปั้ง แรงมากๆ....ผมเคยได้ยินเสียงแบบนี้ ประมาณปีที่แล้ว ขับด้วยตำแหน่งเกียร์ D ไม่เร็วมาก แต่พอรู้ว่าเข้าผิดเส้นทางเบรคกระทันหัน ได้ยินเสียงดังปั้ง แรงมาก นึกว่าก้อนหินหรือท่อนไม้กระเด็นถูกตัวรถ ใจหายแว้บ จากนั้นก็เร่งต่อ แต่ว่ามีแต่รอบขึ้น เกียร์ไม่ยอมเปลี่ยน ตื้อๆอยู่ตั้งนาน งง...เกิดไรขึ้น เหลือบมองหน้าปัด เห็นเลขบอกตำแหน่งเกียร์กลายเป็น 1 ซะงั้นแต่คันเกียร์ยังอยู่ที่ D ยังนึกอยู่ว่ามือคงไปถูกคันเกียร์โดยไม่รู้ตัว (แต่ก็นึกค้านเหมือนกันว่าไม่น่าเป็นไปได้)  จากนั้นใช้ paddle shift ให้หน้าปัดเปลี่ยนจาก 1 เป็น D จึงวิ่งได้ตามปกติ เมื่อแวะเข้าปํ๊มน้ำมันได้ ตรวจสอบคันก็ไม่มีรอยบุบใดๆ อ้าว แล้วเสียงมันดังมาจากไหน .... จากนั้นมาก็ใช้เป็นปี ก็ไม่มีอะไรผิดปกติ จนอาทิตย์ก่อนขับขึ้นสะพานข้ามแยกแถวงามวงศ์วาน ด้วยความเร็วประมาณ 90 ได้ยินเสียงปั้งแรงๆเหมือนเสียงปืน แต่ก็ขับได้เป็นปกติ ยังนึกอยู่ว่าเป็นเสียงจากที่อื่น แต่ผบ.บอกว่าเหมือนกับมาจากรถเรา..ถึงบ้านตรวจดูก็ไม่พบสิ่งผิดปกติใดๆ...จนมาวันนี้มาอ่านเจอของป๋านี่แหละ ...มันเกิดขึ้นได้อย่างไร
บันทึกการเข้า
manop
Jr. Member
**

like: 4
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 303


นพ ศรีราชา


อีเมล์
« ตอบ #31 เมื่อ: มกราคม 06, 2014, 09:45:00 pm »

ขออภัยนะครับป๋า ในกระทู้นี้ป๋าไม่ได้บอกว่าป๋าใช้รถรุ่นไหนกันบ้าง ก็เลยไม่รู้ว่ารุ่นไหนเกียมีปัญหาเยอะสุด 3.0  2.5   2.4 ครับ  ผมใช้  2.5 GT  2WD  ขึ้นเขาค้อภูทับเบิกขาขึ้นใช้เกีย D ขึ้นกำลังเหลือเฟือไม่มีปัญหาอะไร  ขาลงไปที่ +/- ใช้เกีย 2  จอดบ้างตรงจุดพักเบรกลงมาก็ปกติครับ
บันทึกการเข้า

ในโลกนี้ไม่มีอะไรแน่นอน   จงอย่าประมาทกับชีวิต
phanuwato
Newbie
*

like: 0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2


« ตอบ #32 เมื่อ: มกราคม 07, 2014, 02:13:55 am »

ผมเหมือนกันครับ พึ่งได้ 2.5 gls มา 26 ธค จัดไป อยุธยา - พะยา - ภูชีฟ้า  -  ปาย - พะเยา -  อยุธยา  (บ้านแฟนอยู่พะเยา) เกือบ 3000 km  มีปัญหา  ตอน ไปปาย  ใช้ d ขึ้นเขา  เกียร์ค้าง เร่งแล้วรอบขึ้น แต่ไม่มีแรง  ก็เลยมาใช้ +-   แทนครับ ขากลับไม่มีปัญหา    เพราะเคยใช้ isuzu ftr เกียร์ธรรมดา กะ civic fd ไม่เคยมีปัญหา  เกือบไปแล้วกว่าเกียร์ไหม้
บันทึกการเข้า
pordtriton
Newbie
*

like: 2
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 89


อีเมล์
« ตอบ #33 เมื่อ: มกราคม 07, 2014, 12:50:52 pm »

ถ้าเป็นปาร์ 3.2และ2.5ตัวเก่า มิตซูใจดีแถม ออยคูลเลอร์เกียร์มาให้ แต่พอเป็น 2.5VG กลับไม่ไดติดมาไม่แน่ใจด้วยเหตุผลอะไรทางด้านเทคนิคของโรงงานแต่ที่แน่ๆมันสร้างปัญกาให้กับผู้ใช้รถ ก่อนอื่นต้องขออนุญาติท้วความระบบเกียร์และการระบายความร้อนขเงของเหลวในระบบ
.
เกียร์ออโต ใช้น้ำน้ำมันไฮดรอลิคที่มีความหนืดเฉพาะกับเกียร์รุ่นนั้นๆในการทำงานโดยมองหรือคิดยากสองปัจจัยในการเปลี่ยนอัตราทดเกียร์
....ความต้องการเฉพาะหน้าในขณะนั้นจากผู้ขับขี่ เช่น กำลังเร่งแซง โดยมีรอบเครื่องและตำแหน่งเกียร์เป็นปัจจัยประกอบ เช่น รอบเครื่องเดินทางประมาณ 3000 ในเกียร์ 4/5เมื่อผู้ขับต้องการ กำลังเร่งแซง หรือ อื่นๆ กล่องหลักจะประมาณผล รอบเครื่อง ลิ้นเร่ง องศาแป้นคันเร่ง และ ตำแหน่งเกียร์ 
     กดลึกในทันที กล่องหลักจะส่งสัญญานไปที่กล่องเกียร์ให้ทวนจังหว่ะลงมา1-2จังหว่ะเพื่อสร้างกำลังในช่วงเวลาจำกัด
     ค่อยๆกด กล่องหลักจะปรับเปลี่ยนจังหว่ะและปริมาณเชื้อเพลิงเพื่อ สร้างกำลังตามที่ถูกโปรแกรมโดยมีเงื่อนไขตามปัจจัยต่างๆในการประมาลผล   ซึ่ง ตรงนี้คือประเด็นปัญหา "เรื่องความร้อนของระบบเกียร์อันส่งผลต่อการทำงาน"
....ถูกบังคับโดยผู้ขับ เช่น เชนเกียร์ หรือ เลือกอัตราทดเกียร์โดยผู้ขับ โดย กล่องจะมองอยู่ปัจจัยหลักอย่างเดียวเรื่องความปลอดภัยของเกียร์ นั่นคือรอบเครื่องขณะนั้นก่อนเปลี่ยนจังหว่ะเกียร์ลง  ถ้าเกินจากที่โปรแกรมไว้ก็จะไม่ยอมทำตาม(แต่ในระบบอนาล๊อคหรืออย่าวไทรทัน3.2ไม่มีตัวนี้ถ้ผู้ขับสับเกียร์ลงจังหว่ะต่ำในขณะที่ใช้เกียร์4รอบเครื่องสูง มีโอกาสพังได้มากกว่า)
.
ปัญหาเรื่องความร้อนของระบบเกียร์ออโต
        โดยปกติเกียร์ออโต จำเป็นอย่างมากที่ต้อง"คงหรือรักษาอุณหภูมิน้ำมันเกียร์"ไม่ให้สูงเกินที่กำหนด เพื่อประสิทธิภาพและความปลอดภัย ในระบบเกียร์ออโต จะนำน้ำมันเกียร์ออกมารักษาอุณภูมิให้คงที่หรืออยู่ในขอบเขตุ ด้วย ความร้อนจากน้ำหล่อเย็น ในไทรทันหรือปาร์รุ่นแรกๆ จะมีแผงออยคูลเลอร์อยู่หน้าเครื่อง โดยทำกน้าที่ลดความร้อนของน้ำมันเกียร์ก่อนเข้าระบบหล่อเย็นเครื่องหรือหม้อน้ำ(โดยมากเข้าใจกันผิดว่า น้ำมันเกียร์เข้าหม้อน้ำและผ่านแผงคูลเลอร์ก่อนวนกลับเข้าเกียร์) เมื่อใดที่เครื่องยนต์มีโหลดสูง อุณหภูมิน้ำหล่อเย็นสูงขึ้น จึงเป็นปัจจัยที่ทำให้น้ำมันเกียร์สูงเกินและทำงานผิดปกติในที่สุด
      .
ปัญหาความร้อนจากเครื่องยนต์ขณะรับโหลดสูงๆขณะนั้น
     ความร้อนจากเครื่องยนต์หลักๆมาจากปริมาณน้ำมันที่ใช้ในการจุดระเบิด การเสียดสีของชิ้นส่วนต่างๆ และ การถ่ายเทความร้อนนะขณะนั้น
           ปริมาณน้ำมันที่ใช้ในขณะนั้น  การโปรแกรมน้ำมันในขณะมีโหลดจะทำเพื่อให้เครื่องเกิดกำลังในริบเครื่องนั้นๆให้ได้มากที่สุด สังเกตุได้จาก การเปรียบเทียบความร้อนผ่านเครื่องวัดดิจิตอล(สมาร์ทเกจ) เครื่องที่มอนิเตอร์การทำงานของกล่องหลัก กล่องเห็นอะไรสมาร์ทเกจบอกเราอย่างนั้น  ในขณะขึ้นเขา ที่เป็นทางชันและมีระยะทาง การใช้เกียร์ D กล่องจะมอง สัญญาณจาก 1.องศาลิ้นเร่ง 2.องศาแป้นคันเร่ง(ขาคันเร่ง) 3.รอบเครื่อง 4.ตำแหน่งเกียร์            เมื่อเราต้องการกำลังในการปีนทางชัน เรามักจะกดคันเร่งในลักษณะ2ประเภท คือ ค่อยๆกด และ กดลึกในทันทีทันใด(คิ๊กดาวน์) ซึ่งประเภทหลังจะเกิดขึ้นน้อยกว่าด้วยเหตุผลของความปลอดภัย
                  การกดคันเร่ง แบบค่อยๆเติมรอบเพื่อเอาชนะโหลด กล่องจะค่อยเติมน้ำมันในรอบการจัดระเบิดเพิ่มขี้นเรื่อยๆ น้ำมันเยอะ อากาศเท่าเดิม ความร้อนในระบบจุดระบิดสูง แต่ ความสามารถในการระบายความร้อนของหม้อน้ำต่ำ เนื่องจาก การเคลื่นที่ของตัวรถและรอบเครื่องที่ไม่สูง โดยอัตราทดเกียร์ขณะนั้นยังไม่เปลี่ยน การได้เปรียบเชิงกลหรืออัตราทดเลยเป็นประเด็นรองในทันที
             ในขณะที่ อีกการเปรียบเทียบขณะขึ้นทางชันรถคันเดียวกัน ผู้ขับเลือกเกียร์ให้เหมาะสมกับสภาวะ ทางชัน ทดเกียร์ลงเพื่อกำลังและความปลอดภัย รอบเครื่องอาจจะใช้สูงกว่า แต่ปริมาณน้ำมันในการใช้ต่อรอบการจัดระเบิดกลับน้อยกว่า ผมเคยทำการทดสอบกับไทรทัน3.2ออโต ล้อ35" ระหว่างเกียร์ D กับ เกียร์ 2หรือ 1 อุณหภูมิต่างกันอย่างต่ำ 8-15องศา ตามสภาวะแวดล้อม
.
เมื่อเกียร์รับความร้อนสะสมมากๆ จนเกินค่าการทำงานตามปกติของน้ำมันเกียร์(ความหนืด) จึงเป็นปัญหาที่พบอยู่ การเลินนิ่งระบบเกียร์ใหม่ ก็เพื่อรีเซ๊ตค่าเออเรอร์ต่างๆให้กลับมาเป็นSTD
.
ในทัศนะคติปัญหารถไทรทัน/ปาร์เจโร่ จากประสบการณ์ ส่วนตัวนะครับ อาจจะมีอะไรคลาดเคลื่อนรบกวน ชี้แนะหรือแลกเปลี่ยนประสบการณ์กันนะครับ
บันทึกการเข้า
suPreme
Global Mod
Hero Member
*

like: 46
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2418


ปาไทยแลนด์ 2805


« ตอบ #34 เมื่อ: มกราคม 07, 2014, 12:59:10 pm »

ถ้าเป็นปาร์ 3.2และ2.5ตัวเก่า มิตซูใจดีแถม ออยคูลเลอร์เกียร์มาให้ แต่พอเป็น 2.5VG กลับไม่ไดติดมาไม่แน่ใจด้วยเหตุผลอะไรทางด้านเทคนิคของโรงงานแต่ที่แน่ๆมันสร้างปัญกาให้กับผู้ใช้รถ ก่อนอื่นต้องขออนุญาติท้วความระบบเกียร์และการระบายความร้อนขเงของเหลวในระบบ
.
เกียร์ออโต ใช้น้ำน้ำมันไฮดรอลิคที่มีความหนืดเฉพาะกับเกียร์รุ่นนั้นๆในการทำงานโดยมองหรือคิดยากสองปัจจัยในการเปลี่ยนอัตราทดเกียร์
....ความต้องการเฉพาะหน้าในขณะนั้นจากผู้ขับขี่ เช่น กำลังเร่งแซง โดยมีรอบเครื่องและตำแหน่งเกียร์เป็นปัจจัยประกอบ เช่น รอบเครื่องเดินทางประมาณ 3000 ในเกียร์ 4/5เมื่อผู้ขับต้องการ กำลังเร่งแซง หรือ อื่นๆ กล่องหลักจะประมาณผล รอบเครื่อง ลิ้นเร่ง องศาแป้นคันเร่ง และ ตำแหน่งเกียร์ 
     กดลึกในทันที กล่องหลักจะส่งสัญญานไปที่กล่องเกียร์ให้ทวนจังหว่ะลงมา1-2จังหว่ะเพื่อสร้างกำลังในช่วงเวลาจำกัด
     ค่อยๆกด กล่องหลักจะปรับเปลี่ยนจังหว่ะและปริมาณเชื้อเพลิงเพื่อ สร้างกำลังตามที่ถูกโปรแกรมโดยมีเงื่อนไขตามปัจจัยต่างๆในการประมาลผล   ซึ่ง ตรงนี้คือประเด็นปัญหา "เรื่องความร้อนของระบบเกียร์อันส่งผลต่อการทำงาน"
....ถูกบังคับโดยผู้ขับ เช่น เชนเกียร์ หรือ เลือกอัตราทดเกียร์โดยผู้ขับ โดย กล่องจะมองอยู่ปัจจัยหลักอย่างเดียวเรื่องความปลอดภัยของเกียร์ นั่นคือรอบเครื่องขณะนั้นก่อนเปลี่ยนจังหว่ะเกียร์ลง  ถ้าเกินจากที่โปรแกรมไว้ก็จะไม่ยอมทำตาม(แต่ในระบบอนาล๊อคหรืออย่าวไทรทัน3.2ไม่มีตัวนี้ถ้ผู้ขับสับเกียร์ลงจังหว่ะต่ำในขณะที่ใช้เกียร์4รอบเครื่องสูง มีโอกาสพังได้มากกว่า)
.
ปัญหาเรื่องความร้อนของระบบเกียร์ออโต
        โดยปกติเกียร์ออโต จำเป็นอย่างมากที่ต้อง"คงหรือรักษาอุณหภูมิน้ำมันเกียร์"ไม่ให้สูงเกินที่กำหนด เพื่อประสิทธิภาพและความปลอดภัย ในระบบเกียร์ออโต จะนำน้ำมันเกียร์ออกมารักษาอุณภูมิให้คงที่หรืออยู่ในขอบเขตุ ด้วย ความร้อนจากน้ำหล่อเย็น ในไทรทันหรือปาร์รุ่นแรกๆ จะมีแผงออยคูลเลอร์อยู่หน้าเครื่อง โดยทำกน้าที่ลดความร้อนของน้ำมันเกียร์ก่อนเข้าระบบหล่อเย็นเครื่องหรือหม้อน้ำ(โดยมากเข้าใจกันผิดว่า น้ำมันเกียร์เข้าหม้อน้ำและผ่านแผงคูลเลอร์ก่อนวนกลับเข้าเกียร์) เมื่อใดที่เครื่องยนต์มีโหลดสูง อุณหภูมิน้ำหล่อเย็นสูงขึ้น จึงเป็นปัจจัยที่ทำให้น้ำมันเกียร์สูงเกินและทำงานผิดปกติในที่สุด
      .
ปัญหาความร้อนจากเครื่องยนต์ขณะรับโหลดสูงๆขณะนั้น
     ความร้อนจากเครื่องยนต์หลักๆมาจากปริมาณน้ำมันที่ใช้ในการจุดระเบิด การเสียดสีของชิ้นส่วนต่างๆ และ การถ่ายเทความร้อนนะขณะนั้น
           ปริมาณน้ำมันที่ใช้ในขณะนั้น  การโปรแกรมน้ำมันในขณะมีโหลดจะทำเพื่อให้เครื่องเกิดกำลังในริบเครื่องนั้นๆให้ได้มากที่สุด สังเกตุได้จาก การเปรียบเทียบความร้อนผ่านเครื่องวัดดิจิตอล(สมาร์ทเกจ) เครื่องที่มอนิเตอร์การทำงานของกล่องหลัก กล่องเห็นอะไรสมาร์ทเกจบอกเราอย่างนั้น  ในขณะขึ้นเขา ที่เป็นทางชันและมีระยะทาง การใช้เกียร์ D กล่องจะมอง สัญญาณจาก 1.องศาลิ้นเร่ง 2.องศาแป้นคันเร่ง(ขาคันเร่ง) 3.รอบเครื่อง 4.ตำแหน่งเกียร์            เมื่อเราต้องการกำลังในการปีนทางชัน เรามักจะกดคันเร่งในลักษณะ2ประเภท คือ ค่อยๆกด และ กดลึกในทันทีทันใด(คิ๊กดาวน์) ซึ่งประเภทหลังจะเกิดขึ้นน้อยกว่าด้วยเหตุผลของความปลอดภัย
                  การกดคันเร่ง แบบค่อยๆเติมรอบเพื่อเอาชนะโหลด กล่องจะค่อยเติมน้ำมันในรอบการจัดระเบิดเพิ่มขี้นเรื่อยๆ น้ำมันเยอะ อากาศเท่าเดิม ความร้อนในระบบจุดระบิดสูง แต่ ความสามารถในการระบายความร้อนของหม้อน้ำต่ำ เนื่องจาก การเคลื่นที่ของตัวรถและรอบเครื่องที่ไม่สูง โดยอัตราทดเกียร์ขณะนั้นยังไม่เปลี่ยน การได้เปรียบเชิงกลหรืออัตราทดเลยเป็นประเด็นรองในทันที
             ในขณะที่ อีกการเปรียบเทียบขณะขึ้นทางชันรถคันเดียวกัน ผู้ขับเลือกเกียร์ให้เหมาะสมกับสภาวะ ทางชัน ทดเกียร์ลงเพื่อกำลังและความปลอดภัย รอบเครื่องอาจจะใช้สูงกว่า แต่ปริมาณน้ำมันในการใช้ต่อรอบการจัดระเบิดกลับน้อยกว่า ผมเคยทำการทดสอบกับไทรทัน3.2ออโต ล้อ35" ระหว่างเกียร์ D กับ เกียร์ 2หรือ 1 อุณหภูมิต่างกันอย่างต่ำ 8-15องศา ตามสภาวะแวดล้อม
.
เมื่อเกียร์รับความร้อนสะสมมากๆ จนเกินค่าการทำงานตามปกติของน้ำมันเกียร์(ความหนืด) จึงเป็นปัญหาที่พบอยู่ การเลินนิ่งระบบเกียร์ใหม่ ก็เพื่อรีเซ๊ตค่าเออเรอร์ต่างๆให้กลับมาเป็นSTD
.
ในทัศนะคติปัญหารถไทรทัน/ปาร์เจโร่ จากประสบการณ์ ส่วนตัวนะครับ อาจจะมีอะไรคลาดเคลื่อนรบกวน ชี้แนะหรือแลกเปลี่ยนประสบการณ์กันนะครับ
like red heart good
บันทึกการเข้า

"พรีม" คือชื่อลูกสาวผมคร๊าบ แต่ตัวเองชื่อว่า "เก๋"
CHUPHUCHEEP
Newbie
*

like: 0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4


« ตอบ #35 เมื่อ: มกราคม 16, 2014, 11:34:32 am »

ของผมเป็นตลอดเวลารถติดๆ ในเมือง ไฟเกียร์ D กระพริบ เข้าศูยน์เช็คคอม ในคอมโชว์ เกียร์ 2-3 ไม่สมบูรณ์
ยังหาปัญหาไม่เจอ
บันทึกการเข้า
pordtriton
Newbie
*

like: 2
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 89


อีเมล์
« ตอบ #36 เมื่อ: มกราคม 22, 2014, 10:04:32 am »

ของผมเป็นตลอดเวลารถติดๆ ในเมือง ไฟเกียร์ D กระพริบ เข้าศูยน์เช็คคอม ในคอมโชว์ เกียร์ 2-3 ไม่สมบูรณ์
ยังหาปัญหาไม่เจอ
ระบบเครื่องยนต์ ทำอะไรเพิ่มเติมมาหรือป่าวครับ เช่น พ่วงกล่องดันรางมา เป็นต้น
บันทึกการเข้า
Kittitorn2523
Newbie
*

like: 2
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 59



« ตอบ #37 เมื่อ: มกราคม 27, 2014, 07:50:10 pm »

ของผมก็เป็นครับเจอสองครั้งแล้ว มักจะค้างตอนขาลงเขาครับแล้วเราใช้เกียรต่ำต่อเนื่องนานๆมักจะค้าง
แต่ก็ไม่ได้แก้ไขอะไร ตอนนี้ จะสี่หมื่นโลแล้วครับ ก็ปกติดี
เท่าที่สังเกตุถ้าปรับเป็นแมนนวล แล้วเราไม่แช่ที่เกียรต่ำนานๆ สลับให้เกียรสูงบ้างลดภาระเกียรลง จะไม่ค่อยค้างที่เกียรสอง
ถ้ามันค้างก็เข้าข้างทางดับเครื่องรอสักพักแล้วสตาร์ใหม่มันก็จะกลับไปอยู่เกียร์ D ครับ

แต่ตอนไต่ขึ้นเขาอย่าใช้เกียร์สูงมากนะครับ ควรเลี้ยงรอบให้ไม่ตํ่ากว่า 2000 rpm ไม่งั้นเกียร์จะรับภาระหนักครับ
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 2 [3]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by SMF 1.1.18 | SMF © 2006-2009, Simple Machines
by Pajerosport-Thailand TEAM
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.057 วินาที กับ 21 คำสั่ง