Languages
หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: แชร์ กลยุทธ์  (อ่าน 7842 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
architect_tai
Newbie
*

like: 3
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 214



อีเมล์
« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 29, 2016, 09:09:30 am »

เวลาทำงาน  เห็นไหมว่า ผู้ใหญ่หลายๆท่าน มักจะ พูดถึงเรื่องของ กลยุทธ์  การจัดการเชิงกลยุทธ์ ยุทธวิธี ต่างๆนาๆ   มาแชร์กันดีกว่าครับ สำหรับผู้รู้แบ่งปันให้กับ ผู้ไม่รู้  ว่า เราควรมีวิธีในการตั้งรับ  หรือวางแผนตนเองให้สอดคล้องกับกลยุทธ์องค์กร อย่างไร     แบบ วิชาการที่เคี้ยวง่ายๆ เข้าปากสบายๆ ครับ   
บันทึกการเข้า

ความทุกข์ที่ทานทน จะหลอมคนให้ทนทาน
architect_tai
Newbie
*

like: 3
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 214



อีเมล์
« ตอบ #1 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 29, 2016, 09:12:08 am »

เบื้องต้น ง่ายๆ     คือ
 1.กำหนดทิศทาง 2. การประเมินสภาพแวดล้อมขององค์กร 3.การกำหนดกลยุทธ์ 4. การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ 5. การควบคุม และการประเมินผล

เดี๋ยวว่างๆมาต่อกันครับ ว่า กว่าที่ ผู้บริหารองค์กร   หรือ เรากำลังจะเป็นผู้บริหาร  เค้าต้อง วิเคราะห์อะไรกันบ้าง   
บันทึกการเข้า

ความทุกข์ที่ทานทน จะหลอมคนให้ทนทาน
architect_tai
Newbie
*

like: 3
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 214



อีเมล์
« ตอบ #2 เมื่อ: มีนาคม 29, 2016, 09:25:28 am »

ช่วงเวลาในการดื่มกาแฟครับ มาแชร์กันต่อครับ

การที่่เราจะวางแผนกลยุทธ์แล้วใช้ให้เกิดผลสำเร็จนั้น แต่ละ องค์กร มันต่างกันนะครับ  ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆที่เข้ามาเกี่ยวข้อง ทั้ง รูปแบบของ โครงสร้างองค์กร  ระบบ ทรัพยากรมนุษย์  การประเมินผล  ระบบไอทีที่ใช้  หรือแม้กระทั่งที่สำคัญสุดๆเลยคือ เรื่องของ วัฒนธรรมองค์กร ครับ เพราะตัวสุดท้ายนี่เปลี่ยนยาก สุดๆครับ 

วันนี้ผมพูดถึงกระบวนการแรกที่เราต้องทำก่อนคือ ถ้าเราจะวางแผนกลยุทธ์ใหม่  เราจำเป็ฯต้องรุ้ก่อนว่า กลยุทธเดิมมันเป็ฯยังไไง สอดคล้องอย่างไร ไม่สอดคล้องอย่างไร กับ สภาพปัจจุบันขององค์กร   กลยุทธ์มันอยู่ได้อย่างเก่ง ก็ 2-3 ปี อััพเดทสุดๆๆแล้วหล่ะครับ   

หลักง่ายๆเลยครับ 
ตอบสนองแล้วหรือยังใน 4 ด้าน     มิติด้านการเงิน   มิติด้านลูกค้า หรือการตลาด   มิติด้าน การเรียนรุ้และพัฒนาในองค์กร และ    มิติด้าน เจริญเติบโตขององค์กร 
วิเคราะห์ออกมา ง่ายๆง่า มัน แต่ละด้าน มัน  น่าพอใจ  พอไปได้  หรือว่า ออกมาไม่ดีเลย   
ที่สำคัญ  ดูเรื่องของ บรรษัทภิบาลด้วย นะครับว่า สิ่งที่เราทำมาในอดีตครับ มัน ส่งผลอย่างไร กับ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับบริษัทเรา ทั้ง ทางตรงและทางอ้อม   

เอาประมาณนี้ก่อนครับ  เดี๋ยวว่างๆมาต่อกันใหม่
บันทึกการเข้า

ความทุกข์ที่ทานทน จะหลอมคนให้ทนทาน
architect_tai
Newbie
*

like: 3
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 214



อีเมล์
« ตอบ #3 เมื่อ: ธันวาคม 15, 2016, 05:16:40 pm »

หายไปนานครับ มาต่อพอดีเข้าเวปไม่ได้ลืมรหัสผ่าน  555555 

เราเคยสำรวจองค์กร ของเราไหมครับว่า มี จุด ดี ด้อย อ่อนแข็ง มีโอกาส และอุปสรรค อย่างไรครับ   
การวางแผนกลยุทธ์ต้องเริ่มจากจุดนี้นะ     ง่ายๆ    จุดแข็ง จุดอ่อน  ดูภายในตัวเรา องค์กรเรา   หรือเราเรียกว่า ปัจจัยแวดล้อมภายในครับ    ดูทุกๆอย่างเลยนะ ตั้งแต่  โครงสร้างองค์กร  กลยุทธ์ ยุทธวิธี เดิม  ระบบ  คน พนักงาน วัสดุอุปกรณ์   พวกเนี๊ย นักวิชาการ ชอบบอกว่า   เซเว่นเอสสสสส   7s นั่นแหละครับ   แต่ผมจะพยายามไม่เข้าวิชาการ นะ    ลองสำรวจดูนะครับบบบบ 
บันทึกการเข้า

ความทุกข์ที่ทานทน จะหลอมคนให้ทนทาน
SeePonse
Newbie
*

like: 0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2


อีเมล์
« ตอบ #4 เมื่อ: มีนาคม 08, 2017, 04:34:51 pm »

กลยุทธ์เหล่านี้น่านำไปใช้
บันทึกการเข้า

architect_tai
Newbie
*

like: 3
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 214



อีเมล์
« ตอบ #5 เมื่อ: เมษายน 24, 2017, 11:35:53 am »

ต่อมา ดูสภาพแวดล้อมภายนอก  ครับ  พวก  นโยบายรัฐ คอนเซ็ป รัฐ   สภาพ เศรษฐกิจ   สภาพสังคม ว่าเป็นอย่างไร  เทคโนโลยี แบบไหนแล้ว  กฏหมาย ต่างๆ เอื้อประโยชน์แค่ไหน   พวกนี้ ส่งผล ให้เกิด โอกาส และอุปสรรค นะครับ       
และขาดไม่ได้เลย คือการ ดู ตัวแปร  5 ตัวหลักๆครับ    พวก คู่แข่งเดิม  คู่แข่งใหม่  ลูกค้า สินค้าทดแทน และ ผู้จัดจำหน่ายวัตถุดิบครับ    พวกนี้  นักวิชาการเค้าเรียกก ไฟฟฟฟฟว์ ฟอร์จจจ   โมเดล   ครับ   

ลอง ไปวิเคราะห์ดูนะครับ   
บันทึกการเข้า

ความทุกข์ที่ทานทน จะหลอมคนให้ทนทาน
architect_tai
Newbie
*

like: 3
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 214



อีเมล์
« ตอบ #6 เมื่อ: สิงหาคม 15, 2019, 10:51:00 pm »

ไม่ได้เข้ามานาน.  เดี๋ยวอัพเดทให้อีกครับ
บันทึกการเข้า

ความทุกข์ที่ทานทน จะหลอมคนให้ทนทาน
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by SMF 1.1.18 | SMF © 2006-2009, Simple Machines
by Pajerosport-Thailand TEAM
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.036 วินาที กับ 20 คำสั่ง